วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2552

วงกลมกับความรัก

๏๏๏๏..วงกลม หนึ่งวง...๏๏๏๏
คนเรามายืนและก้าวไปพร้อม พร้อมกัน

จากจุดเดียวกัน บางคนอาจจะก้าวไปเร็ว

กว่า...บางคนอาจจะค่อย ๆ ก้าว...ทีละก้าว

ก้อเปรียบเสมือนวงกลมหนึ่งวง ที่ก้าวจาก

จุดเดียวกัน และลากเส้นไปในทิศทางเดียวกัน

และไม่สามารถลากเส้นมาบรรจบกันได้

ถ้าต่างคนต่างที่จะลากเส้น....

ถ้าคนใดคนหนึ่งหยุดอยู่กับที่..แล้วอีกคนหนึ่ง

ลากเส้นไป...แล้วพอไม่นานมันก้อจะลากเส้น

มาบรรจบกันที่จุดเดิม

เหมือนกับความรัก ที่ต่างคนต่างดิ้นรนแสวงหา

แล้วก้อไม่พบกับสิ่งที่แสวงหา เจอแต่ความว่างเปล่า....

และความปวดร้าว

ถ้าหยุดอยู่กับที่...ความรักก้อจะวิ่งเข้ามาหา..

ถ้าเราไม่ลากเส้นให้ก้าวต่อไป...

ความรักก้อเหมือนกับวงกลมหนึ่งวง ถ้าเราก้าวไป

และมีจุดมุ่งหมายอันเดียวกัน

ความรักมันคงจะมาบรรจบกัน ในจุดหนึ่ง จุดใด..

ของเส้นวงกลม..
ถ้าคนละจุดมุ่งหมาย เส้นที่ลาก ก้อจะกลายเป็นวงกลม

คนละวง ที่จะไม่สามารถก้าวมาบรรจบกันอีกเลย...

ความรัก ถ้าเรายิ่งวิ่งตาม ยิ่งค้นหา เชื่อได้ว่า สิ่งที่ได้มา

คือ ความผิดหวัง ยิ่งเดินเข้าไป ยิ่งเดินหนี...

แต่เชื่อว่า สักวัน ความรัก...คงจะเดินเข้ามา..

วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2552

Enveloppe rouge


Une enveloppe rouge, ou paquet rouge (chinois traditionnel : 紅包, chinois simplifié : 红包, pinyin: hóng bāo) est un don d'argent traditionnel chinois, réalisé dans une enveloppe rouge. Son nom cantonais est lai si, aussi transcrit lai see (利是, 利市 ou 利事) et Ang Pow en Minnan. Il est censé porter bonheur. Les enveloppes rouges sont aussi employées pour des dessous-de-table politique.
Les enveloppes rouges sont offertes au cours de fêtes familiales, comme des réceptions de mariage ou lors de fêtes traditionnelles, comme le nouvel an chinois (dans ce cas elles sont appelées yāsuì qián, 壓歲錢). Le rouge est d'ailleurs la couleur des robes de mariées et des costumes traditionnels que portent les enfants pour le nouvel an. Cette couleur symbolise la chance et le montant d'argent dans le paquet est souvent un nombre favorable, tel qu'un nombre composé de beaucoup de huit, dont la prononciation en chinois est proche de celle du mot prospérité.
Au nouvel an chinois un hóng bāo est typiquement donné par des adultes (généralement mariés) aux enfants de passage et à leur propre progéniture. Le destinataire souhaite un avenir favorable au donneur en prenant l'enveloppe rouge.
Le montant du don est très important car c'est en fonction de lui que celui qui reçoit distingue l'importance sociale du donneur et la force de leur lien, c'est une forme de rapport social.
Des coutumes similaires existent dans d'autres pays asiatiques. Ainsi, au Vietnam les enveloppes rouges sont les lì xì, mot similaire dans sa prononciation au cantonnais lai see. Au Japon et en Corée, le don d'argent, appelé otoshidama, fait aux enfants par leurs parents pendant la période du nouvel an s'effectue dans une enveloppe blanche sur laquelle est marquée le nom du destinataire. En Malaisie, les musulmans donnent de l'argent dans des paquets verts décorés de motifs islamiques pour l'Aïd el-Fitr. Enfin en Thaïlande, les thaïs chinois donnent des enveloppes rouges appelées Ang Pow ou Tae Ea.

Nouvel An chinois



Le Nouvel An chinois ou Nouvel An du calendrier chinois (sinogrammes traditionnels : 農曆新年 ; sinogrammes simplifiés : 农历新年 ; hanyu pinyin : nónglì xīnnián) ou « passage de l’année » (traditionnels : 過年 ; simplifiés : 过年 ; pinyin : guònián) est le premier jour du premier mois du calendrier chinois. C'est le début de la fête du printemps (traditionnels : 春節 ; simplifiés : 春节 ; pinyin : chūnjié) qui se déroule sur quinze jours et s’achève avec la fête des lanternes (traditionnels : 元宵節 ; simplifiés : 元宵节 ; pinyin : yuánxiāojié).
Le calendrier chinois étant un calendrier luni-solaire, la date du Nouvel An chinois dans le calendrier grégorien varie d'une année sur l'autre, mais tombe toujours entre le 21 janvier et le 20 février. C’est, comme tous les commencements de mois lunaires chinois, le premier jour d'une nouvelle Lune. Par convention, l'alignement astronomique qui signale la nouvelle Lune est déterminé à l’observatoire de la Montagne Pourpre à Nankin.
Le Nouvel An est célébré officiellement en Chine (sept jours de congés) et à Taïwan (cinq jours), à Hong Kong et Macao (trois jours), ainsi que dans certains pays d’Asie où l’influence de la culture chinoise est importante, ou dont la population comprend une forte minorité de Chinois ethniques : Singapour et Malaisie (deux jours), Brunei et Indonésie (un jour), Viêt Nam (fête du Têt, trois jours, avec un jour de décalage avec la Chine tous les 22 ou 23 ans pour compenser le décalage horaire entre Pékin et Hanoï), Corée du Sud (fête de 새해 Saehae, trois jours). Les congés du Nouvel An, qui peuvent être prolongés par un week-end ou un pont, sont une période de migration intense, car nombreux sont ceux qui s’efforcent de rejoindre leur famille, depuis l’étranger parfois : embouteillages sur les routes et encombrements dans les gares et les aéroports sont la règle.
Il est observé individuellement partout dans le monde par les membres de la diaspora chinoise, et parfois également par les Japonais (vieux premier mois 旧正月), les Miao, les Mongols, les Tibétains, les Népalais et les Bhoutanais.

วันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2552

,,ตำนานพระจันทร์


นานมาแล้ว..สมัยที่โลกยังมีพระจันทร์ 2 ดวง มีดวงจันทร์ดวงหนึ่งเป็นผู้หญิง ..กับอีกดวงหนึ่งเป็นผู้ชาย และดวงจันทร์ทั้งสองดวงนี้ ต่างก็รักกันมาก ดวงจันทร์ทั้งสองไม่เคยแยกห่างจากกัน ...ทุกๆ คืนเมื่อมองไปบนฟ้า จะเห็นดวงจันทร์ทั้งคู่ อยู่เคียงข้างกันเสมอ.. แต่แล้ววันหนึ่ง.. ดวงจันทร์ผู้หญิงได้ไปพบกับดวงอาทิตย์ ทำให้ดวงจันทร์ผู้หญิงหลงใหลในแสงเจิดจ้าของดวงอาทิตย์ จนเลื่อนตัวตามดวงอาทิตย์ไปทีละน้อย ทีละน้อย .............. และก็แยกมาจากดวงจันทร์อีกดวงหนึ่งในที่สุด... เมื่อค่ำคืนมาถึง.. จึงมีดวงจันทร์ผู้ชายเหลืออยู่ เพียงดวงเดียว ... ส่วนดวงจันทร์ผู้ชายก็ได้แต่ตามหา ดวงจันทร์ผู้หญิงไปทุกหนทุกแห่ง .... คืนแล้วคืนเล่า วันเวลาล่วงผ่านไป แต่ดวงจันทร์ผู้ชายก็ไม่สามารถหาดวงจันทร์ผู้หญิงได้พบ.. ..... ด้วยความคิดถึง และอยากพบดวงจันทร์ผู้หญิงให้เร็วที่สุด ทำให้ดวงจันทร์ผู้ชายคิดว่า "หากเรามัวแต่ตามหาอยู่อย่างนี้ คงไม่ได้เจอแน่ๆ" จึงตัดสินใจ.. ระเบิดตัวเอง เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย ไปทั่วทั้งจักรวาล เพื่อให้ชิ้นส่วนแต่ละชิ้น ออกตามหาดวงจันทร์อีกดวงหนึ่งนั้น...
..... เมื่อเวลาผ่านไป ทำให้ดวงจันทร์ผู้หญิง ได้เห็นถึงความจริงว่า.. แม้ดวงอาทิตย์จะส่องแสงเจิดจ้า สวยงามสักปานใด แต่ดวงอาทิตย์ก็มิได้ส่องแสงเจิดจ้า แต่เพียงเธอเท่านั้น ยังส่องแสงไปยังดาวดวงอื่นๆ อีกมากมาย ดวงจันทร์ผู้หญิงจึงกลับมาหาดวงจันทร์ผู้ชายอีกครั้ง... .... แต่หาเท่าไรก็หาดวงจันทร์ผู้ชายไม่พบ ต่อมาจึงได้รู้ว่า ดวงจันทร์ผู้ชายยอมระเบิดตัวเอง เพียงเพื่อตามหาตน จนกระจัดกระจายเป็นเศษเสี้ยวเล็กๆ ทำให้ดวงจันทร์ผู้หญิงรู้ว่าไม่มีวันที่จะได้เจอ กับดวงจันทร์ผู้ชายอีกต่อไปแล้ว จึงได้แต่โศกเศร้า และเสียใจ .... แต่ด้วยความรักอันยิ่งใหญ่ที่ดวงจันทร์ผู้ชาย มีต่อดวงจันทร์ผู้หญิง ทุกค่ำคืนจึงพยายามเปล่งประกายแสง ที่ยังเหลืออยู่เพียงน้อยนิดของตน ส่งให้ถึงดวงจันทร์ผู้หญิง เกิดเป็นแสงพร่างพรายเต็มท้องฟ้า เคียงข้างดวงจันทร์ จนเกิดเป็นดวงจันทร์และดวงดาว ให้เราเห็นจนถึงทุกวันนี้ .... หากเรามองขึ้นไปบนท้องฟ้ายามค่ำคืน วันไหนที่เห็นจันทร์สวยสด วันนั้น คุณก็จะไม่เห็นดาวดวงเล็กดวงน้อยส่องแสง หรือ วันใดคุณเห็นดาวเปล่งประกายเต็มฟ้ามืด วันนั้น คุณก็จะไม่พบดวงจันทร์.... .....เขาและเธอ ไม่อาจพบกันตลอดกาล.....

ตำนานร่ม

ร่ม หรือที่เรียกว่า Umbrella มีรากศัพท์มาจากคำว่า Umbra ซึ่งเป็นภาษาละติน แปลว่า บังแดด ร่มถือกำเนิดขึ้นในดินแดนเมโสโปเตเมีย ประมาณ 3,500 ปีมาแล้ว ซึ่งดินแดนแถบนี้จะมีพื้นที่เป็นทะเลทรายเกือบทั้งหมด นานๆจะมีฝนตกลงมาสักที ร่มจึงใช้ในการกันแดดมากกว่ากันฝน จนเมื่อราว 1,200 ปีก่อนคริสต์กาล ในสังคมอียิปต์เชื่อกันว่า ท้องฟ้าคือร่างกายของเทพธิดานามว่า นัต ซึ่งปกคลุมโลกดุจร่มอันมหึมา มนุษย์จึงได้คิดสร้างร่มขึ้นไว้เป็นตัวแทนของเทพธิดานัต เพื่อใช้ปกป้องคุ้มครองผู้ที่อยู่ใต้ร่มเงา ที่ส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงศักดิ์ โดยเฉพาะกษัตริย์ ต่อมา ชาวกรีกได้รับเอาวัฒนธรรมการกางร่มมาจากอียิปต์ ในยุคแรกๆนั้นจะมีความเชื่อว่าผู้ที่จะกางร่มได้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีอำนาจเท่านั้น แต่ระยะหลังความเชื่อนี้เริ่มจางลง ทำให้คนธรรมดาก็สามารถที่จะเดินกางร่มได้ แต่การกางร่มก็จำกัดอยู่เฉพาะในวงของสตรีเท่านั้น ซึ่งวัสดุที่ใช้ในการทำร่มส่วนใหญ่คือ กระดาษ ต่อมาบรรดาผู้หญิงก็เริ่มที่จะเรียนรู้วิธีการทำร่มแบบใหม่ ที่นอกจากจะกันแดดได้แล้ว ยังสามารถกันฝนได้ด้วย โดยการใช้น้ำมันทาลงบนร่มกระดาษให้ทั่ว ซึ่งร่มก็จะสามารถกันน้ำได้ จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้ที่กางร่มส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นผู้หญิง เพราะเนื่องจากว่าผู้ชายกลัวที่จะโดนสบประมาทว่าอ่อนแอ จึงไม่ค่อยมีใครนิยมกางร่มเท่าใดนัก จนในปี ค.ศ.1750 โจนาส แฮนเวย์ ชายชาวอังกฤษ เป็นชายคนแรกที่ลุกขึ้นมาพกร่ม ท่ามกลางเสียงเย้ยหยันของคนรอบข้าง แต่เขาไม่สนใจ และยังยืนยันว่าจะพกร่มต่อไป จนกระทั่งการพกร่มเป็นที่ยอมรับของคนอังกฤษไม่ว่าจะเป็นหญิงหรือชายก็ตาม จนกระทั่งถึงทุกวันนี้

วันจันทร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2552

ยางลบกะดินสอ..!

มีดินสอที่เขียนอย่างไรก็ไม่มีวันหมดอยู่แท่งหนึ่งมียางลบที่ลบอย่างไรก็ไม่มีวันหมดอยู่ก้อนหนึ่งฟังดูอาจตลกทุกคนอาจคิดว่าดินสอกับยางลบเป็นของคู่กันแต่ลองอ่านดูก่อนนะดินสอแท่งนั้นเป็นเพื่อนกับยางลบก้อนนั้นทั้งคู่ไปไหนมาไหนด้วยกันทำอะไรด้วยกันหน้าที่ของดินสอก็คือเขียนมันจึงเขียนทุกที่ทุกอย่างเสมอตลอดเวลาที่อยู่กับยางลบหน้าที่ของยางลบก็คือลบ มันจึงลบทุกอย่างที่ดินสอเขียนทุกที่ทุกเวลาเวลาผ่านไปนานหลายสิบปี ทุกอย่างก็ยังดำเนินเหมือนเดิมเรื่อยมาจนกระทั่งดินสอเอ่ยกับยางลบว่า เรากับนายคงอยู่ด้วยกันไม่ได้แล้วยางลบจึงถามว่าทำไมล่ะดินสอจึงตอบกลับไปว่า ก็เราเขียนนายลบแล้วมันก็ไม่เหลืออะไรเลยยางลบจึงเถียงว่าเราทำตามหน้าที่ของเราเราไม่ผิดทั้งคู่จึงแยกทางกันดินสอพอแยกทางกับยางลบมันก็ดีใจที่สามารถเขียนอะไรได้ตามใจมันแต่พอเวลาผ่านไปมันเริ่มเขียนผิดข้อความที่สวยๆที่มันเคยเขียนได้ก็สกปรกมีแต่รอยขีดทิ้งเต็มไปหมดมันคิดถึงยางลบจับใจฝ่ายยางลบพอแยกทางกับดินสอมันก็ดีใจที่ตัวมันไม่ต้องเปื้อนอีกต่อไปพอเวลาผ่านไป มันกลับใช้ชีวิตอย่างไร้ค่าเพราะไม่มีอะไรให้ลบมันคิดถึงดินสอจับใจทั้งคู่จึง กลับมาอยู่ด้วยกันใหม่คราวนี้ดินสอเขียนน้อยลงเขียนแต่สิ่งที่ดีส่วนยางลบก็ลบเฉพาะที่ดินสอเขียนผิด เท่านั้นถ้าเปรียบการเขียนเป็นการจำดินสอ ในตอนแรกก็จำทุกเรื่องทั้งดีและไม่ดีแต่พอเปลี่ยนไป มันก็หัดเลือกจำแต่สิ่งดีๆเท่านั้นส่วนการลบเปรียบเหมือนการลืมยางลบในตอนแรกก็ลืมทุกอย่างทั้งดีและไม่ดีแต่ทุกครั้งที่ลืมเรื่องไม่ดีตัวมันก็จะสกปรกแต่ตอนหลังมันเลือกลืมแต่เรื่องไม่ดีหรือ คือการให้อภัยนั่นเองฉะนั้นการเปรียบการเดินทางของทั้งคู่ดุจมิตรภาพคือ การจำแต่สิ่งดีๆ และลืมในสิ่งที่อาจผิดพลาดบ้าง

วันเสาร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2552

ฟอ.เฟรน*


,, FRIEND 4 EVER !!
ปีใหม่แย๊ว ว
รั๊กกัลๆ เน๊าะ
รั๊กกัลทู๊กปี มั่ยว่าปีหนัย
~เย๊!!!